คุกกี้

เว็บไซต์ของบริษัทมีการจัดเก็บข้อมูลจากเบราว์เซอร์ของคุณในรูปแบบคุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้นให้แก่คุณ รวมถึงนำเสนอเนื้อหา และประชาสัมพันธ์สิทธิประโยชน์ที่ตรงกับความต้องการ การกดปุ่ม “อนุญาตทั้งหมด” จะช่วยให้คุณได้รับประสบการณ์เต็มรูปแบบในการใช้งานเว็บไซต์ของบริษัท ทั้งนี้ คุณสามารถกำหนดการตั้งค่าคุกกี้แต่ละประเภทได้ตามที่คุณต้องการโดยกดปุ่ม “บันทึกการตั้งค่า” โดยคุณสามารถคลิกดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.atgenes.com/privacy-policy/

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

No cookies to display.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

No cookies to display.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

No cookies to display.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

No cookies to display.

 เนื่องจากฮอร์โมนบางชนิดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระดูกและการซ่อมแซมกระดูก

เมื่อร่างกายเข้าสู่ช่วงอายุวัยทอง การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนจึงส่งผลให้เกิดภาวะกระดูกพรุนได้

💡 ฮอร์โมนอะไรบ้าง?
ที่ส่งผลต่อความเสี่ยงกระดูกพรุน

– ฮอร์โมนเพศ การลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิงและฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ในเพศชาย ส่งผลให้มีความเสี่ยงเกิดโรคกระดูกพรุนเนื่องจากเป็นฮอร์โมนที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างกระดูกและป้องกันการสลายของมวลกระดูก

– ฮอร์โมนไทรอยด์ การมีระดับฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไปจากโรคฮอร์โมนไทรอยด์เกินและการกินฮอร์โมนไทรอยด์เพิ่มเพื่อรักษาโรคไทรอยด์ขาด ทำให้เกิดการทำลายของกระดูกมากขึ้น

– ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตหากทำงานหนักมากเกินไปก็ส่งผลให้เกิดภาวะกระดูกพรุนได้

ป้องกันโรคกระดูกพรุนอย่างไรดี?
✅ เสริมแคลเซียมและวิตามินD
✅ ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ
✅ งดสูบบุหรี่และงดดื่มแอลกอฮอล์
✅ ปรึกษาแพทย์ก่อนหากต้องทานยาที่ส่งผลต่อมวลกระดูก

🥰 โปรแกรมตรวจวัดระดับฮอร์โมนที่ส่งผลต่อความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
– ฮอร์โมนเพศหญิงเอสโตรเจน (Estrogen) ราคาตรวจ 650 บาท
– ฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ราคาตรวจ 660 บาท
– ฮอร์โมนไทรอยด์ (thyroid hormone) ราคาตรวจ 990 บาท
– ฮอร์โมนเกี่ยวกับต่อมหมวกไต (Cortisol , DHEA) ราคาตรวจ 1,100 บาท

💪 โปรแกรมตรวจระดับแคลเซียม
– ตรวจวัดระดับแคลเซียมในร่างกาย ราคาตรวจ 600 บาท

✨ สามารถจองตรวจและสอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่
Inbox หรือ LINE: @atgenes (ใส่ @ ด้วยนะคะ)
โทร 02-0731411 , 085-6242296