เนื่องจากฮอร์โมนบางชนิดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระดูกและการซ่อมแซมกระดูก

เมื่อร่างกายเข้าสู่ช่วงอายุวัยทอง การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนจึงส่งผลให้เกิดภาวะกระดูกพรุนได้

💡 ฮอร์โมนอะไรบ้าง?
ที่ส่งผลต่อความเสี่ยงกระดูกพรุน

– ฮอร์โมนเพศ การลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิงและฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ในเพศชาย ส่งผลให้มีความเสี่ยงเกิดโรคกระดูกพรุนเนื่องจากเป็นฮอร์โมนที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างกระดูกและป้องกันการสลายของมวลกระดูก

– ฮอร์โมนไทรอยด์ การมีระดับฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไปจากโรคฮอร์โมนไทรอยด์เกินและการกินฮอร์โมนไทรอยด์เพิ่มเพื่อรักษาโรคไทรอยด์ขาด ทำให้เกิดการทำลายของกระดูกมากขึ้น

– ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตหากทำงานหนักมากเกินไปก็ส่งผลให้เกิดภาวะกระดูกพรุนได้

ป้องกันโรคกระดูกพรุนอย่างไรดี?
✅ เสริมแคลเซียมและวิตามินD
✅ ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ
✅ งดสูบบุหรี่และงดดื่มแอลกอฮอล์
✅ ปรึกษาแพทย์ก่อนหากต้องทานยาที่ส่งผลต่อมวลกระดูก

🥰 โปรแกรมตรวจวัดระดับฮอร์โมนที่ส่งผลต่อความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
– ฮอร์โมนเพศหญิงเอสโตรเจน (Estrogen) ราคาตรวจ 650 บาท
– ฮอร์โมนเพศชายเทสโทสเตอโรน (Testosterone) ราคาตรวจ 660 บาท
– ฮอร์โมนไทรอยด์ (thyroid hormone) ราคาตรวจ 990 บาท
– ฮอร์โมนเกี่ยวกับต่อมหมวกไต (Cortisol , DHEA) ราคาตรวจ 1,100 บาท

💪 โปรแกรมตรวจระดับแคลเซียม
– ตรวจวัดระดับแคลเซียมในร่างกาย ราคาตรวจ 600 บาท

✨ สามารถจองตรวจและสอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่
Inbox หรือ LINE: @atgenes (ใส่ @ ด้วยนะคะ)
โทร 02-0731411 , 085-6242296